การแยกตัวประกอบที่เราเรียนผ่านมาแล้วเป็นการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองเช่น

\(x^{2}+5x+6\)

\(x^{2}-81\)

\(x^{2}+12x-9\)

\(3x^{2}-8x-35\)

แล้วถ้าเป็นพหุนามดีกรีสาม  พหุนามดีกรีสี่  หรือดีกรีสูงกว่านี้เราจะมีวิธีในการแยกตัวประกอบอย่างไร  คำตอบก็คือเราสามารถใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือมาช่วยในการแยกตัวตัวประกอบพหุนามดีกรีสูงๆเหล่านั้นได้คับ  สำหรับเรื่องทฤษฎีบทเศษเหลือผมก็ได้เขียนไว้แล้ว  อ่านตามลิงค์นี้เลยคับ ทฤษฎีทบเศษเหลือ

และสำหรับบทความนี้เราก็จะใช้ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีบทเศษเหลือ มาช่วยในการแยกตัวประกอบของพหุนาม  เรื่องนี้ค่อนข้างยาก อย่างไรก็ลองอ่านและก็ฟังดูคับ เข้าใจไม่เข้าใจอย่างไร ก็คงต้องเข้าใจให้ได้ เพราะว่าสำคัญอย่างยิ่งสำหรับเรื่องนี้ โดยเฉพาะสำหรับคนที่จะเรียนต่อในแผนวิทย์-คณิต คงต้องศึกษาให้เข้าใจโดยท่องแท้ พิมพ์มาก็ยาวแล้ว ความจริงตอนแรกวางแผนว่าจะไม่พิมพ์ให้ยาวจะเอาแต่เนื้อให้มีน้ำน้อยที่สุด แต่พิมพ์ไปพิมพ์มาไงยาวเหมือนเดิม เอาเป็นว่าช่างมันเถอะ  มาดูวิธีการแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือกันดีกว่า เป็นคลิปที่ผมอัดและก็อัพโหลดลงยูทูบ ฟังแล้วไม่เข้าใจหรือมีข้อสงสัยก็ถามได้น่ะคับ