• เฉลยข้อสอบ TEDET (1)

    วันนี้มาเฉลยข้อสอบ TEDET ปี 63 ซึ่งพึ่งสอบไปเมื่อวันอาทิตย์ 4 ตุลาคม 2563 ผมจะหยิบมาเฉลย แค่บางข้อเอาข้อที่สะดุดตา ไม่ใช้สมองมาก คือใช้กึ๋น นิดๆในการทำ เพราะจริงข้อสอบพวกนี้ไม่ต้องออกยากหรอก ออกเพื่อทดสอบพวกไหวพริบ ปฏิภาณของเด็กนักเรียนก็พอแล้ว อย่างเช่น ข้อนี้สามารถวัดได้หลายอย่างเลย ถ้าใครเรียนแบบจำๆมา คงจะทำไม่ได้ มาดูข้อสอบกันเลยครับ

    1. ถ้า \( (10^{10}+25)^{2}-(10^{10}-25)^{2}=10^{n}\) โดยที่ \(n\) เป็นจำนวนนับ จงหาค่าของ \(n\)

    วิธีทำ ข้อนี้ถ้าใครมองไม่ออกจะยากมาก ถ้าทำแบบตรงๆเลขจะเยอะ ฉะนั้นถ้าเรามองออกจะง่ายครับ เพราะข้อนี้ใช้การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองโดยทำเป็นผลต่างกำลังสอง หรือสรุปง่ายๆก็คือ

    \[A^{2}-B^{2}=(A-B)(A+B)\]

    ฉะนั้น เราเริ่มทำกันเลยนะ หวังว่าทุกคนคงมองออกนะคับ สำหรับใครที่มองไม่ออกจริงๆ ก็ถามที่คอมเมนต์ได้คับ เริ่มกันเลย

    \begin{array}{lcl}(10^{10}+25)^{2}-(10^{10}-25)^{2}&=&\left[ (10^{10}+25)-(10^{10}-25)\right]\left[(10^{10}+25)+(10^{10}-25)\right]\\&=&(50)(10^{10}+10^{10})\\&=&(50)(2\cdot 10^{10})\\&=&100\cdot 10^{10}\\&=&10^{2}\cdot 10^{10}\\&=&10^{12}\end{array}

    จากโจทย์บอกว่า

    \( (10^{10}+25)^{2}-(10^{10}-25)^{2}=10^{n}\)

    ดังนั้นจากที่เราทำมาข้างบน จึงได้

    \begin{array}{lcl}10^{12}&=&10^{n}\end{array}

    นั่นคือ

    \(n=12\)  ข้อนี้ตอบ \(12\)

  • เฉลยข้อสอบ TEDET (2)

    วันนี้มาเฉลยข้อสอบ TEDET ปี 63 ซึ่งพึ่งสอบไปเมื่อวันอาทิตย์ 4 ตุลาคม 2563 ผมจะหยิบมาเฉลย แค่บางข้อเอาข้อที่สะดุดตา ไม่ใช้สมองมาก คือใช้กึ๋น นิดๆในการทำ เพราะจริงข้อสอบพวกนี้ไม่ต้องออกยากหรอก ออกเพื่อทดสอบพวกไหวพริบ ปฏิภาณของเด็กนักเรียนก็พอแล้ว อย่างเช่น ข้อนี้สามารถวัดได้หลายอย่างเลย ถ้าใครเรียนแบบจำๆมา คงจะทำไม่ได้ มาดูข้อสอบกันเลยครับ

    2. ถ้า \((1+x-y)^{2}-(x+y)^{2}=-15\) โดยที่ \(x\) และ \(y\) เป็นจำนวนนับ จงหาค่ามากที่สุดของ \(x^{2}+y^{2}\)

    วิธีทำ ข้อนี้ทำคล้ายข้อข้างบนครับ ทำเป็นผลต่างกำลังสอง  เริ่มทำเลยนะครับผมจะได้

    \begin{array}{lcl}(1+x-y)^{2}-(x+y)^{2}&=&-15\\(1+x-y-x-y)(1+x-y+x+y)&=&-15\\(1-2y)(1+2x)&=&-15\\(1-2y)(1+2x)&=&(-3)(5)\\(1-2y)(1+2x)&=&(1-4)(1+4)\\(1-2y)(1+2x)&=&(1-2\cdot 2)(1+2\cdot 2)\end{array}

    ซึ่งถ้าเราเทียบกันดูจะเห็นว่า \(x=2\quad y=2\) ดังนั้นค่ามากที่สุดของ \(x^{2}+y^{2}\) คือ \(2^{2}+2^{2}=8\)



    3. ให้ \(a\) และ \(b\) เป็นจำนวนจริงบวก โดยที่ \(ab=4\) จงหาค่าของ \(a\sqrt{\frac{4b}{a}}+b\sqrt{\frac{9a}{b}}\)

    วิธีทำ 

    \begin{array}{lcl}a\sqrt{\frac{4b}{a}}+b\sqrt{\frac{9a}{b}}&=&\sqrt{\frac{4a^{2}b}{a}}+\sqrt{\frac{9b^{2}a}{b}}\\&=&\sqrt{4ab}+\sqrt{9ab}\\&=&\sqrt{4\cdot 4}+\sqrt{9\cdot 4}\\&=&\sqrt{16}+\sqrt{36}\\&=&4+6\\&=&10\end{array}



    4. ให้ \(x+2\) เป็นตัวประกอบของ \(x^{2}+Ax-2\) และ \(2x^{2}+Bx+6\) จงหาค่าของ \(A+B\)

    วิธีทำ สมมติเราต้องการหาคำตอบของสมการ

    \(x^{2}+6x+9=0\)  เราก็ทำการแยกตัวประกอบจะได้ว่า

    \begin{array}{lcl}x^{2}+6x+9&=&0\\(x+3)(x+3)&=&0\end{array}

    ซึ่งเราจะเห็นว่า \(x+3\) เป็นตัวประกอบของ \(x^{2}+6x+9\) และ \(x=-3\) เป็นคำตอบของสมการ \(x^{2}+6x+9=0\)  ดังนั้นข้อนี้เราจึงได้ว่า

    \(x=-2\) เป็นคำตอบของสมการ \(x^{2}+Ax-2=0\)  เมื่อแทนค่าคำตอบลงไปในสมการ เราจึงได้ว่า

    \begin{array}{lcl}x^{2}+Ax-2&=&0\\(-2)^{2}+A(-2)-2&=&0\\4-2A-2&=&0\\-2A+2&=&0\\A&=&\frac{-2}{-2}\\A&=&1\end{array}

    อีกอันก็คือ \(x=-2\) เป็นคำตอบของสมการ \(2x^{2}+Bx+6=0\) เมื่อแทนค่าคำตอบลงไปในสมการ เราจึงได้ว่า

    \begin{array}{lcl}2x^{2}+Bx+6&=&0\\2(-2)^{2}+B(-2)+6&=&0\\8-2B+6&=&0\\-2B+14&=&0\\B&=&\frac{-14}{-2}\\B&=&7\end{array}

    ดังนั้น \(A+B=1+7=8\)



    5. ถ้า \(x=b\) และ \(y=0\) เป็นคำตอบของสมการ \(-2x+y=5\) และ \(x+3y=a\) โดยที่ \(a\) และ \(b\) เป็นค่าคงตัว จงหาค่าของ \(a-b\)

    วิธีทำ ข้อนี้แก้ระบบสมการครับ แก้ตามสิ่งที่โจทย์บอกเลยครับ

    กำหนดให้ \(-2x+y=5\quad\quad\cdots (1)\) 

    เมื่อแทนค่า \(x=b\) และ \(y=0\) ลงไปในสมการ \((1)\) เราจะได้ว่า

    \begin{array}{lcl}-2b+0&=&5\\-2b&=&5\\b&=&\frac{5}{-2}\end{array}

    กำหนดให้ \(x+3y=a\quad\quad\cdots (2)\) 

    เมื่อแทนค่า \(x=b\) และ \(y=0\) ลงไปในสมการ \((2)\) เราจะได้ว่า

    \begin{array}{lcl}b+3(0)&=&a\\b&=&a\end{array}

    ตอนนี้สิ่งที่เราได้คือ

    \(b=-\frac{5}{2}\)

    \(b=a\)

    เนื่องจากโจทย์ให้เราหา \(a-b\) เราจึงได้ว่า

    \begin{array}{lcl}a-b&=&-\frac{5}{2}-(-\frac{5}{2})\\&=&0\end{array}

  • เฉลยข้อสอบ TEDET (3)

    วันนี้มาเฉลยข้อสอบ TEDET ปี 63 ซึ่งพึ่งสอบไปเมื่อวันอาทิตย์ 4 ตุลาคม 2563 ผมจะหยิบมาเฉลย แค่บางข้อเอาข้อที่สะดุดตา ไม่ใช้สมองมาก คือใช้กึ๋น นิดๆในการทำ เพราะจริงข้อสอบพวกนี้ไม่ต้องออกยากหรอก ออกเพื่อทดสอบพวกไหวพริบ ปฏิภาณของเด็กนักเรียนก็พอแล้ว อย่างเช่น ข้อนี้สามารถวัดได้หลายอย่างเลย ถ้าใครเรียนแบบจำๆมา คงจะทำไม่ได้ มาดูข้อสอบกันเลยครับ

    3. ให้ \(a\) และ \(b\) เป็นจำนวนจริงบวก โดยที่ \(ab=4\) จงหาค่าของ \(a\sqrt{\frac{4b}{a}}+b\sqrt{\frac{9a}{b}}\)

    วิธีทำ 

    \begin{array}{lcl}a\sqrt{\frac{4b}{a}}+b\sqrt{\frac{9a}{b}}&=&\sqrt{\frac{4a^{2}b}{a}}+\sqrt{\frac{9b^{2}a}{b}}\\&=&\sqrt{4ab}+\sqrt{9ab}\\&=&\sqrt{4\cdot 4}+\sqrt{9\cdot 4}\\&=&\sqrt{16}+\sqrt{36}\\&=&4+6\\&=&10\end{array}



    4. ให้ \(x+2\) เป็นตัวประกอบของ \(x^{2}+Ax-2\) และ \(2x^{2}+Bx+6\) จงหาค่าของ \(A+B\)

    วิธีทำ สมมติเราต้องการหาคำตอบของสมการ

    \(x^{2}+6x+9=0\)  เราก็ทำการแยกตัวประกอบจะได้ว่า

    \begin{array}{lcl}x^{2}+6x+9&=&0\\(x+3)(x+3)&=&0\end{array}

    ซึ่งเราจะเห็นว่า \(x+3\) เป็นตัวประกอบของ \(x^{2}+6x+9\) และ \(x=-3\) เป็นคำตอบของสมการ \(x^{2}+6x+9=0\)  ดังนั้นข้อนี้เราจึงได้ว่า

    \(x=-2\) เป็นคำตอบของสมการ \(x^{2}+Ax-2=0\)  เมื่อแทนค่าคำตอบลงไปในสมการ เราจึงได้ว่า

    \begin{array}{lcl}x^{2}+Ax-2&=&0\\(-2)^{2}+A(-2)-2&=&0\\4-2A-2&=&0\\-2A+2&=&0\\A&=&\frac{-2}{-2}\\A&=&1\end{array}

    อีกอันก็คือ \(x=-2\) เป็นคำตอบของสมการ \(2x^{2}+Bx+6=0\) เมื่อแทนค่าคำตอบลงไปในสมการ เราจึงได้ว่า

    \begin{array}{lcl}2x^{2}+Bx+6&=&0\\2(-2)^{2}+B(-2)+6&=&0\\8-2B+6&=&0\\-2B+14&=&0\\B&=&\frac{-14}{-2}\\B&=&7\end{array}

    ดังนั้น \(A+B=1+7=8\)



    5. ถ้า \(x=b\) และ \(y=0\) เป็นคำตอบของสมการ \(-2x+y=5\) และ \(x+3y=a\) โดยที่ \(a\) และ \(b\) เป็นค่าคงตัว จงหาค่าของ \(a-b\)

    วิธีทำ ข้อนี้แก้ระบบสมการครับ แก้ตามสิ่งที่โจทย์บอกเลยครับ

    กำหนดให้ \(-2x+y=5\quad\quad\cdots (1)\) 

    เมื่อแทนค่า \(x=b\) และ \(y=0\) ลงไปในสมการ \((1)\) เราจะได้ว่า

    \begin{array}{lcl}-2b+0&=&5\\-2b&=&5\\b&=&\frac{5}{-2}\end{array}

    กำหนดให้ \(x+3y=a\quad\quad\cdots (2)\) 

    เมื่อแทนค่า \(x=b\) และ \(y=0\) ลงไปในสมการ \((2)\) เราจะได้ว่า

    \begin{array}{lcl}b+3(0)&=&a\\b&=&a\end{array}

    ตอนนี้สิ่งที่เราได้คือ

    \(b=-\frac{5}{2}\)

    \(b=a\)

    เนื่องจากโจทย์ให้เราหา \(a-b\) เราจึงได้ว่า

    \begin{array}{lcl}a-b&=&-\frac{5}{2}-(-\frac{5}{2})\\&=&0\end{array}

  • เฉลยข้อสอบ TEDET (4)

    วันนี้มาเฉลยข้อสอบ TEDET ปี 63 ซึ่งพึ่งสอบไปเมื่อวันอาทิตย์ 4 ตุลาคม 2563 ผมจะหยิบมาเฉลย แค่บางข้อเอาข้อที่สะดุดตา ไม่ใช้สมองมาก คือใช้กึ๋น นิดๆในการทำ เพราะจริงข้อสอบพวกนี้ไม่ต้องออกยากหรอก ออกเพื่อทดสอบพวกไหวพริบ ปฏิภาณของเด็กนักเรียนก็พอแล้ว อย่างเช่น ข้อนี้สามารถวัดได้หลายอย่างเลย ถ้าใครเรียนแบบจำๆมา คงจะทำไม่ได้ มาดูข้อสอบกันเลยครับ

    4. ให้ \(x+2\) เป็นตัวประกอบของ \(x^{2}+Ax-2\) และ \(2x^{2}+Bx+6\) จงหาค่าของ \(A+B\)

    วิธีทำ สมมติเราต้องการหาคำตอบของสมการ

    \(x^{2}+6x+9=0\)  เราก็ทำการแยกตัวประกอบจะได้ว่า

    \begin{array}{lcl}x^{2}+6x+9&=&0\\(x+3)(x+3)&=&0\end{array}

    ซึ่งเราจะเห็นว่า \(x+3\) เป็นตัวประกอบของ \(x^{2}+6x+9\) และ \(x=-3\) เป็นคำตอบของสมการ \(x^{2}+6x+9=0\)  ดังนั้นข้อนี้เราจึงได้ว่า

    \(x=-2\) เป็นคำตอบของสมการ \(x^{2}+Ax-2=0\)  เมื่อแทนค่าคำตอบลงไปในสมการ เราจึงได้ว่า

    \begin{array}{lcl}x^{2}+Ax-2&=&0\\(-2)^{2}+A(-2)-2&=&0\\4-2A-2&=&0\\-2A+2&=&0\\A&=&\frac{-2}{-2}\\A&=&1\end{array}

    อีกอันก็คือ \(x=-2\) เป็นคำตอบของสมการ \(2x^{2}+Bx+6=0\) เมื่อแทนค่าคำตอบลงไปในสมการ เราจึงได้ว่า

    \begin{array}{lcl}2x^{2}+Bx+6&=&0\\2(-2)^{2}+B(-2)+6&=&0\\8-2B+6&=&0\\-2B+14&=&0\\B&=&\frac{-14}{-2}\\B&=&7\end{array}

    ดังนั้น \(A+B=1+7=8\)



    5. ถ้า \(x=b\) และ \(y=0\) เป็นคำตอบของสมการ \(-2x+y=5\) และ \(x+3y=a\) โดยที่ \(a\) และ \(b\) เป็นค่าคงตัว จงหาค่าของ \(a-b\)

    วิธีทำ ข้อนี้แก้ระบบสมการครับ แก้ตามสิ่งที่โจทย์บอกเลยครับ

    กำหนดให้ \(-2x+y=5\quad\quad\cdots (1)\) 

    เมื่อแทนค่า \(x=b\) และ \(y=0\) ลงไปในสมการ \((1)\) เราจะได้ว่า

    \begin{array}{lcl}-2b+0&=&5\\-2b&=&5\\b&=&\frac{5}{-2}\end{array}

    กำหนดให้ \(x+3y=a\quad\quad\cdots (2)\) 

    เมื่อแทนค่า \(x=b\) และ \(y=0\) ลงไปในสมการ \((2)\) เราจะได้ว่า

    \begin{array}{lcl}b+3(0)&=&a\\b&=&a\end{array}

    ตอนนี้สิ่งที่เราได้คือ

    \(b=-\frac{5}{2}\)

    \(b=a\)

    เนื่องจากโจทย์ให้เราหา \(a-b\) เราจึงได้ว่า

    \begin{array}{lcl}a-b&=&-\frac{5}{2}-(-\frac{5}{2})\\&=&0\end{array}

  • เฉลยข้อสอบ TEDET (5)

    วันนี้มาเฉลยข้อสอบ TEDET ปี 63 ซึ่งพึ่งสอบไปเมื่อวันอาทิตย์ 4 ตุลาคม 2563 ผมจะหยิบมาเฉลย แค่บางข้อเอาข้อที่สะดุดตา ไม่ใช้สมองมาก คือใช้กึ๋น นิดๆในการทำ เพราะจริงข้อสอบพวกนี้ไม่ต้องออกยากหรอก ออกเพื่อทดสอบพวกไหวพริบ ปฏิภาณของเด็กนักเรียนก็พอแล้ว อย่างเช่น ข้อนี้สามารถวัดได้หลายอย่างเลย ถ้าใครเรียนแบบจำๆมา คงจะทำไม่ได้ มาดูข้อสอบกันเลยครับ

    5. ถ้า \(x=b\) และ \(y=0\) เป็นคำตอบของสมการ \(-2x+y=5\) และ \(x+3y=a\) โดยที่ \(a\) และ \(b\) เป็นค่าคงตัว จงหาค่าของ \(a-b\)

    วิธีทำ ข้อนี้แก้ระบบสมการครับ แก้ตามสิ่งที่โจทย์บอกเลยครับ

    กำหนดให้ \(-2x+y=5\quad\quad\cdots (1)\) 

    เมื่อแทนค่า \(x=b\) และ \(y=0\) ลงไปในสมการ \((1)\) เราจะได้ว่า

    \begin{array}{lcl}-2b+0&=&5\\-2b&=&5\\b&=&\frac{5}{-2}\end{array}

    กำหนดให้ \(x+3y=a\quad\quad\cdots (2)\) 

    เมื่อแทนค่า \(x=b\) และ \(y=0\) ลงไปในสมการ \((2)\) เราจะได้ว่า

    \begin{array}{lcl}b+3(0)&=&a\\b&=&a\end{array}

    ตอนนี้สิ่งที่เราได้คือ

    \(b=-\frac{5}{2}\)

    \(b=a\)

    เนื่องจากโจทย์ให้เราหา \(a-b\) เราจึงได้ว่า

    \begin{array}{lcl}a-b&=&-\frac{5}{2}-(-\frac{5}{2})\\&=&0\end{array}